ต้นทุนมาตรฐาน (WORK SHOP) การจัดทำและการบันทึกบัญชี การวิเคราะห์ผลต่าง
-
รายละเอียดในการสัมมนา
1. ประโยชน์ที่ได้จากการนำระบบต้นทุนมาตรฐานเข้ามาใช้ในกิจการ
2. ประเภทของต้นทุนมาตรฐานที่จะกำหนด
- มาตรฐานราคา (Price Standard)
- มาตรฐานปริมาณ (Quantity Standard)
3. แนวทางในการกำหนดต้นทุนมาตรฐาน
- การกำหนดต้นทุนมาตรฐานวัตถุดิบทางตรง
- การกำหนดต้นทุนมาตรฐานค่าแรงทางตรง
- การกำหนดต้นทุนมาตรฐานค่าใช้จ่ายการผลิต
4. บัตรต้นทุนมาตรฐาน (Standard Cost Sheet)
5. การวิเคราะห์ผลต่างต้นทุนมาตรฐาน
- การวิเคราะห์ผลต่างต้นทุนวัตถุดิบทางตรง (Direct Material Variance Analysis)
- การวิเคราะห์ผลต่างค่าแรงทางตรง (Direct Labor Variance Analysis)
- การวิเคราะห์ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิต
6. ระบบบัญชีและวิธีการบันทึกบัญชีต้นทุนมาตรฐานที่นิยมโดยทั่วไป (Single Plan)
7. การปิดบัญชีผลต่างต้นทุนมาตรฐาน
- ปิดเข้าบัญชีกำไรขาดทุนหรือบัญชีสรุปผลรายได้รายจ่าย
- ถือเป็นส่วนปรับมูลค่าของบัญชีสินค้าคงเหลือและต้นทุนขายประจำงวด
8. การทบทวนมาตรฐานจากที่กำหนดไว้เดิม (Revision of Standard Costs)
วิทยากร
อาจารย์ ม.ล.วรกัลยา วัฒนสินธุ์
MBA Indiana University U.S.A.
บัญชีมหาบัณฑิต บัญชีบัณฑิต (เกียรตินิยม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ที่ปรึกษาด้านการบัญชีหน่วยงานรัฐวิสาหกิจและบริษัทเอกชน
อาจารย์พิเศษ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
กำหนดการสัมมนา
รุ่นที่ 65 |
วันพฤหัสบดีที่ 16 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 - 16:30 น. ZOOM (เต็มวัน) |
รุ่นที่ 66 |
วันพฤหัสบดีที่ 20 เมษายน 2566 เวลา 09:00 - 16:30 น. ZOOM (เต็มวัน) |
รุ่นที่ 67 |
วันพฤหัสบดีที่ 24 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 - 16:30 น. ZOOM (เต็มวัน) |
รุ่นที่ 68 |
วันพฤหัสบดีที่ 19 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 - 16:30 น. ZOOM (เต็มวัน) |
รุ่นที่ 69 |
วันพฤหัสบดีที่ 14 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 - 16:30 น. ZOOM (เต็มวัน) |
อัตราค่าเข้าร่วมการสัมมนา
2,700+VAT189 = 2,889 (ภาษีหัก ณ ที่จ่าย 81 บาท) |
by ZOOM พิเศษสุด!...สำหรับบุคคลธรรมดา เหลือเพียง 2,200 บาท (ก่อน VAT) |