บัญชีลูกหนี้ หนี้สูญและการบริหารลูกหนี้ (วางแผน วางระบบ ควบคุม)

-


ความสำคัญ

     เมื่อทำธุรกิจย่อมหนี้ไม่พ้นเรื่องของลูกหนี้ ความอยู่รอดของธุรกิจจึงอยู่ที่การวางแผน วางระบบควบคุม บันทึกและติดตาม ในเรื่องของลูกหนี้ให้รัดกุมรอบคอบ ยิ่งลูกหนี้เยอะยิ่งต้องมีระบบที่ดี นอกจากนี้ยังไปเกี่ยวข้องกับมาตรฐานการบัญชีและภาษีในเรื่องการรับรู้รายได้อีก โดยเฉพาะกฎหมายใหม่ในการทวงหนี้

     สถาบันได้เห็นความสำคัญ จึงรวบรวมประเด็นปัญหาที่มักจะเกินขึ้นในธุรกิจ พร้อมแนวทางแก้ไขเพื่อให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้นำไปใช้วางแผนและปฏิบัติได้ทันที 

หัวข้อสัมมนา

1. บ่อเกิดแห่งหนี้

2. บัญชีลูกหนี้และการบันทึกบัญชี ตามมาตรฐานการบัญชี

     - ระบบบัญชีของลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่นๆ

     - แนวปฏิบัติเมื่อรับชำระหนี้ด้วย เงินสด เช็ค โอนเงิน หรือวิธีอื่นๆ

3. การวางระบบเอกสารหลักฐานทางการค้า ที่จำเป็นซึ่งแสดงว่าคู่ค้าเป็นลูกหนี้

     (มีผลต่อการฟ้องร้องเมื่อมีปัญหาในอนาคต)

4. การสร้างระบบการบริหารลูกหนี้และวางแผนเรื่องการควบคุมภายในลูกหนี้

     - วางมาตรการและเงื่อนไขการให้เครดิตทางการค้า

     - ระบบการจัดเก็บหนี้ ระบบวางบิล

5. วางระบบรายงานเพื่อวิเคราะห์ แก้ปัญหา เพื่อติดตามก่อนที่จะสายเกินไป

     -กำหนดแผนในการติดตามและเร่งรัดหนี้

6. แนวปฏิบัติทางมาตรฐานการบัญชีสำหรับ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ

     -การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ และการบันทึกบัญชี

     -การบันทึกบัญชีจำหน่ายหนี้สูญ หนี้สูญรับคืน

7. มาตรฐานการบัญชีสำหรับ การรับรู้รายได้และลูกหนี้การค้า

8. เทคนิคการทวงหนี้ตามกฎหมายใหม่

วิทยากร


อาจารย์สุพัฒน์ อุปนิกขิต (CPA)

ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ที่ปรึกษาและวางระบบบัญชี

มีประสบการณ์ในการบริหารงานด้านบัญชีมากกว่า 35 ปี

กำหนดการสัมมนา

รุ่นที่ 83
วันศุกร์ที่ 23 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 - 16:00 น.
ZOOM (เต็มวัน)
รุ่นที่ 84
วันศุกร์ที่ 26 เมษายน 2567 เวลา 09:00 - 16:00 น.
ZOOM (เต็มวัน)
รุ่นที่ 85
วันพุธที่ 26 มิถุนายน 2567 เวลา 09:00 - 16:00 น.
ZOOM (เต็มวัน)
รุ่นที่ 86
วันศุกร์ที่ 30 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 - 16:00 น.
ZOOM (เต็มวัน)
รุ่นที่ 87
วันพุธที่ 30 ตุลาคม 2567 เวลา 09:00 - 16:00 น.
ZOOM (เต็มวัน)
รุ่นที่ 82
วันจันทร์ที่ 16 ธันวาคม 2567 เวลา 09:00 - 16:00 น.
ZOOM (เต็มวัน)

อัตราค่าเข้าร่วมการสัมมนา

2,400+VAT168 = 2,568 (ภาษีหัก ณ ที่จ่าย 72 บาท)

ห้ามบันทึกภาพ เสียง วีดีโอ แชร์หรือนำไปเผยแพร่

 

Scroll to Top